ความแตกต่างของ Requirement รีไควเม้นท์ ในการทำระบบ ERP อีอาร์พี ระหว่างระดับผู้บริหารและระดับปฏิบัติการ

การเตรียมความพร้อมก่อนที่จะเริ่มทำระบบ ERP (อีอาร์พี) ถือเป็นสิ่งสำคัญวันนี้เราเลยนำความรู้ความแตกต่างของการเก็บ Requirement (รีไควเม้นท์) ในระบบ ERP ระหว่างระดับผู้บริหารและระดับปฏิบัติการมาฝากกันค่ะ
Requirement (รีไควเม้นท์) คือการเก็บรวบรวมความต้องการของลูกค้าก่อนเริ่มการพัฒนาระบบ ERP ซึ่งกระบวนการนี้เป็น ขั้นตอนที่ค่อนข้างสำคัญมาก เราควรจะวางแผนก่อนการไปเก็บความต้องการของลูกค้าว่า เราจะเก็บอย่างไร และควรคำนึงถึงวิธีป้องกันการเปลี่ยนแปลงความต้องการของลูกค้าที่จะเกิดขึ้นในอนาคตด้วย
ความแตกต่างของในการทำระบบ ERP
Administrator Requirement (แอดมินอิซ เทเทอะ รีไควเม้นท์) เป็นความต้องการที่จะนำระบบ ERP เพื่อเข้าไปบริหารจัดการ ในแผนกต่าง ๆ ขององค์กร ซึ่งความต้องการของ ผู้บริหาร ก็จะมีความแตกต่าง จากผู้ใช้งาน เช่น ต้องการลดความผิดพลาดในการทำงานของผู้ปฏิบัติการ, ช่วยให้การวิเคราะห์และการวางแผนงานในอนาคตเป็นไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ
User Requirement (ยูซเซอร์ รีไควเม้นท์) เป็นความต้องการที่รวบรวมจากผู้ใช้ระบบโดยตรง เช่น ลำดับของช่องที่จะให้กรอกข้อมูล, จะกรอกอย่างไร, เรียงลำดับอย่างไร, ขนาดตัวอักษร, สีอะไร เป็นต้น ซึ่งในครั้งแรก ผู้ใช้งาน ก็จะยังไม่คุ้นเคยกับระบบ ERP แต่เมื่อได้ลองใช้งาน ก็จะพบว่าใช้งานง่ายไม่ซับซ้อน และยังช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน อีกด้วย
นอกจากนี้ทางบริษัท เอ็ม.ดี. ซอฟต์ มีบริการติดตั้งระบบ OpenERP, บริการพัฒนา Module OpenERP รวมไปถึงการจัดอบรมการใช้งาน Odoo9 เบื้องต้น สำหรับการนำไปใช้งาน ERP ในองค์กร ท่านสามารถที่จะลงทะเบียนเพื่อเข้าร่วมอบรมได้ที่ ลงทะเบียนอบรม Odoo9 ค่ะ หากสนใจสามารถที่จะสอบถามเพิ่มเติมเกี่ยวกับบริการได้ที่ สอบถามข้อมูลบริการ ได้ค่ะ
บทความที่เกี่ยวข้อง : บริษัทควรจะเลือกใช้ โปรแกรมบัญชี หรือ ERP อีอาร์พี ดี ?, การบันทึกบัญชีสำหรับธุรกิจการผลิต , การบัญชีเกี่ยวกับธุรกิจเกษตร, ความหมายระบบบัญชีคู่ Double entry bookkeeping ดับเบิล เอนทริ บุ๊คคีพอิง, วิธีการบันทึกบัญชีเกี่ยวกับสินค้าคงเหลือ
บทความโดย : https://www.mdsoft.co.th/ (บริษัทเอ็ม.ดี ซอฟต์ จำกัด)
บริการพัฒนา Module OpenERP บริการติดตั้งระบบ OpenERP บริการ Implement ระบบ ERP ด้วย Odoo