วีดีโอออนไลน์ Features Odoo ระบบ ERP สำหรับองค์กร
สำหรับ ผู้เข้าอบรม สามารถทำการเข้าสู่ระบบเพื่อดูวีดีโอได้ทันที
สำหรับ ผู้ที่ไม่ได้เข้าร่วมอบรม สามารถทำตาม 4 ขั้นตอนง่ายๆ ดังนี้
1. สมัครสมาชิก
2. ชำระค่าบริการ บจก. เอ็ม.ดี.ซอฟต์ ไทยพานิชย์ 235-231135-3
3. แจ้งการชำระเงิน E-mail [email protected]
4. เข้าสู่ระบบเพื่อรับชมวีดีโอ
สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม โทร : 08-1619-8579

รายละเอียดเพิ่มเติม

 

วีดีโอ อบรมการนำ Odoo11 ใช้งานระบบ ERP สำหรับองค์กร ครั้งที่ 26 (Intro)
ดาวใช้งานดาวใช้งานดาวใช้งานดาวใช้งานดาวใช้งาน
 

*** คำแนะนำสำหรับการรับชมวีดีโอ กรุณาเข้าสู่ระบบ

ดูวีดีโออบรมการนำ Odoo11 ใช้งานระบบ ERP สำหรับองค์กร ที่เกี่ยวข้อง

สำหรับท่านที่ไม่ได้เข้าอบรมหากสนใจเกี่ยวกับ Odoo11 สามารถติดต่อซื้อวิดีโออบรมตามที่อยู่ด้านล่างได้เลย.. 

วีดีโอ อบรมการนำ Odoo11 ใช้งานระบบ ERP สำหรับองค์กร วันที่ 2 ธันวาคม 2560 (Part 1)

วีดีโอ อบรมการนำ Odoo11 ใช้งานระบบ ERP สำหรับองค์กร วันที่ 2 ธันวาคม 2560 (Part 2)

วีดีโอ อบรมการนำ Odoo11 ใช้งานระบบ ERP สำหรับองค์กร วันที่ 2 ธันวาคม 2560 (Part 3)

วีดีโอ อบรมการนำ Odoo11 ใช้งานระบบ ERP สำหรับองค์กร วันที่ 2 ธันวาคม 2560 (Part 4)

 

อบรมแนะนำ Features odoo 11 เพื่อการนำไปใช้ใน ERP ขององค์กร   วีดีโอการอบรมแนะนำ Features Odoo 11 เพื่อใช้งาน ERP ในองค์กรออนไลน์ ได้ทำการรวบรวมมาให้คุณไว้ที่เดียวแล้ว
- ภาพรวมในการทำงานของ Odoo11   ขั้นตอนในการดูวีดีโอออนไลน์ 3 ขั้นตอนง่ายๆ
- Company Setting- User&Employee     1. สมัครสมาชิกและเข้าสู่ระบบ
- HR : Recrutiment Process, Attendance,  Timesheet, Leave Management&Expense     2. ชำระเงิน
- การตั้งค่าในส่วนการทำงานหลักในแต่ละส่วนงาน     3. แจ้งรายละเอียดการชำระเงิน
>> Contacts, Charts of Account, Taxes,  Terms of Payment, UOM, Products, Warehouse & Location    
- Workflow การทำงาน Sales, Purchase,  Inventory และ Accounting   สอบถามเพิ่มเติมติดต่อ
- Project Management      E-mail : [email protected]
- MRP      Tel.      : 08-1619-8579
- Point of Sales    
- Odoo Online   สนใจเข้าร่วมอบรมสามารถลงทะเบียนได้ที่
- Website       ลงทะเบียนอบรมแนะนำ Features odoo 11
- Q/A    
รายละเอียดเพิ่มเติมที่ รายละเอียดการเข้าร่วมอบรม    

 

1. แนะนำเนื้อหา การอบรม และภาพรวมการทำงานของ Odoo 11
     1.1 ระบบนี้เป็นระบบ Open source ที่สร้างนำโครงสร้างที่มีอยู่ภายในระบบมาพัฒนาต่อยอดได้โดยไม่มีค่า Licenes ใดๆ 
     1.2 ระบบได้ถูกพัฒนาเพิ่มเติมจากเดิม เช่น ในขั้นตอนของการแก้ไขเอกสารการซื้อขาย ก็จะเพิ่มฟังก์ชั่นในการแนบไฟล์เอกสารต้นฉบับที่ถูกแก้ไขไปแล้ว เพื่อสามารถดูประวัติได้
     1.3 สามารถเพิ่มตัวแปลภาษาได้มากกว่าที่ระบบ Default มาให้ แต่ว่าต้อง Load Translation มาเพิ่มเติมเอง


2. การแก้ไขข้อมูลส่วนตัวในเมนู Preference
     2.1 แก้ไขรหัสผ่านเข้าสู่ระบบ
     2.2 สามารถแก้ไขภาาาที่ใช้งานในโปรแกรมได้มากกว่า 1 ภาษา เพราะว่า Odoo เป็นระบบที่รองรับการใช้งานแบบ Multi Langauge
     2.3 สามารถดาวน์โหลดภาษาอื่นๆ เพิ่มเติมได้ที่ เมนู Setting


3. การกำหนดสิทธิ์การเข้าใช้งานระบบ
     3.1 เมื่อเพิ่มชื่อผู้ใช้งานในระบบแล้ว เราสามารถที่จะกำหนดให้แต่ละ user มองเห็นแถบเมนูตามที่เรากำหนดได้


4.การใช้งานหน้า Dash board 
     4.1 สำหรับการใช้งานในส่วนนี้จะเป็นการเลือกแสดงผลข้อมูลตามความต้องการของเรา ซึ่งจะเกี่ยวข้องกับกรดูรายงานการขาย, สรุปยอดการขายสินค้า เป็นต้น ซึ่งเราสารถเลือกดูข้อมูลได้ตลอดเวลา 


5. การตั้งค่า Company 
     5.1 จุดที่สำคัญของการกำหนดค่าในช่องนี้คือ สกุลเงินที่จะใช้งานในระบบ ซึ่งระบบ Odoo เป็นระบบที่รองรับการใช้งานได้หลากหลายสกุลเงิน


6. การกำหนด Payment Term
     6.1 สำหรับการสร้างข้อมูลเงื่อนไขการชำระเงินของบริษัท ซึ่งเราสามารถที่จะกำหนดเงื่อนไขให้แต่ละรูปแบบการชำระได้เอง

7. โมดูล HR
     7.1 Recrutiment Process เป็นระบบเกี่ยวกับการจัดการข้อมูลโครงสร้างขององค์กร ว่าภายในองค์กรมีแผนกอะไรบ้าง ในแต่ละแผนกประกับไปด้วยกลุ่มใดหรือทีมใดบ้าง เช่น แผนกการเงินและบัญชี มีแผนกย่อย 2 แผนก คือ แผนกการเงิน และ แผนกบัญชี เป็นต้น
     7.2 สิ่งสำคัญในการกำหนดโครงสร้างขององค์กร แผนก ตำแหน่ง เงินเดือน
     7.3 Attendance เป็นเมนูสำหรับตรวจสอบเวลาเข้า-ออกงาน 
     7.4 Leave Management ระบบจัดการเกี่ยวกับวันลางานของพนักงานในบริษัท ไม่ว่าจะเป็นการตั้งค่าวันลาต่างๆ , กำหนดจำนวนวันลา, กำหนดวันลาให้กับพนักงานภายในองค์กร เป็นต้น
     7.5 Expense เป็นระบบทำเอกสารเกี่ยวกับการส่งบิลเบิกค่าใช้จ่ายต่างๆ ไปให้กับฝ่ายบัญชี

8. Accounting เมนูนี้จะรวมทุกการทำงานของงานบัญชีไว้ทั้งหมด
     8.1 Payment Term คือ ระยะเวลาที่กำหนดให้ลูกค้าจ่ายชำระค่าสินค้า 
     8.2 Term type ประกอบด้วย Balance, Percentage, Fixed Amount
     8.3 Due date กำหนดจำนวนวันในการจ่ายเงิน หรือจะสร้างเงื่อนไขขึ้นมาเองก็ได้

9. การกำหนดข้อมูล Price List
     9.1 กำหนดราคาโปรโมทชั่นให้กับ Product ต่างๆ สามารถกำหนดช่วงเวลาในการกำหนดราคาโปรโมชั่นได้
     9.2 สามารถตั้งค่าราคาโปรโมชั่นให้กับสินค้าได้ เช่น ใช้ราคาโปรโมชั่นกับทุกสินค้า
     9.3 สามารถกำหนดวิธีในการคำนวนราคาโปรโมชั่นได้ เช่น Fix Price, Percentage, Formula เป็นการสร้างเงื่อนไขเองว่าจะให้คำนวนอย่างไร เป็นต้น

10. Products & Product Variant ต่างกันอย่างไร
     10.1 Products Varaint สามารถระบุลักษณะของสินค้าได้มากกว่าและกำหนดราคาเฉพาะลักษณะได้เลย แล้วก็เอาราคาที่กำหนดในนี้ไปคิดเงิน หรือขายของได้เลย

11. MRP คือ Meterial Resource Planing เกี่ยวข้องกับการผลิต
     11.1 สร้าง Product 
     11.2 สร้าง Bom Bill of materials คือ สินค้าอุปกรณ์การผลิต
     11.3 สามารถกำหนดส่วนลดท้ายบิลสำหรับกลุ่มสมาชิกลูกค้าได้

12. Point Of Sale
     12.1 ส่วนของ Cash Control เป็นเมื่อระบบการจัดการของเครื่องคิดเงิน ตรวจเช็คจำนวนเงินทอนก่อนเปิดร้าน เพื่อคำนวณยอดขายประจำวัน
     12.2 ส่วนของการออกแบบบิล (Receipt) สามารถกรอกข้อมูล Header และ Footer ได้ในส่วนนี้เลย
     12.3 สามารถกำหนดส่วนลดท้ายบิลได้สำหรับกลุ่มสมาชิกลูกค้าได้
     12.4 การใช้งานหน้าร้าน เราจะใช้งานที่เมนู Dashboard ซึ่งการใช้งานในส่วนนี้สามารถเปิดการคิดเงินค้าสินค้าได้ทีละหลายๆคนได้ เช่น คนแรกไหยิบของเพิ่ม เราสามารถ
     12.5 Session สำหรับ Monitor จุดชำระเงินต่างๆที่กำลังทำงานอยู่ตามที่เราเปิดไว้

13. Tools ที่ใช้ในการพัฒนาเว็บไซต์
     13.1 Web blog ก็เป็นเวบที่เอาเรื่องราวต่างๆมาแชร์
     13.2 Tools ที่ใช้ในการพัฒนา Wordpress เช่นนำมาเขียนรีวิวสินค้า เป็นต้น แต่หลังๆมามีนำมาใช้ทำ Web E-commerce ด้วย
     13.3 Web Board ตัวอย่างเช่น พันทิป
     13.4 Web E-commerce เว็บขายของออนไลน์
     13.5 Live Chat เป็นช่องทางในการติดต่อกับลูกค้า คอยตอบคำถามลูกค้าที่สอบถามมาในช่องทาง Live Chat ผ่านหน้าเว็บไซต์

14. การตั้งค่าเริ่มต้นของการใช้งานเว็บไซต์ของ Odoo 11 
     14.1 Google Analytics Key เป็นตัวช่วยในการจัดเก็ยสถิติที่ต้องเป็นการใช้งานกับ Google ซึ่งจะต้องสมัครใช้งานในส่วนนี้ก่อนแล้วก็เอาคีย์มาใส่
     14.2 Google Map ก็เป็นการใช้งานร่วมกับ Google เหมืนอกัน จะต้องสมัครการใช้งานก่อน
     14.3 กรณีที่เปลี่ยนราคาขายสินค้าผ่านหน้าเว็บไซต์ ข้อมูลราคาหลังบ้านก็จะอัพเดทตามไปด้วย
     14.4 เมื่อมีการลงทะเบียนผ่านหน้าเว็บไซต์แล้ว ID นั้นๆก็จะใช้ได้กับ Forum, Website, E-commerce
     14.5 ตั้งค่าการรับชำระผ่านหน้าเว็บไซต์ 

 


------------ หน้าเว็บ ----------


Odoo Online จะเป็นการนำข้อมูลไปใช้งานหน้าเว็บไซต์
     - พูดถึงเรื่องโปรแกรมใช้พัฒนาได้
     - joomla, drupal, wordpress
Odoo Webboard
     -phpbb, simplemachines
Odoo E-commerce
     -Mageto
     -jom shopping
     -woocommerce
การตั้งค่าหลังบ้าน
     -Google Analytics Key
     -การตั้งชื่อเว็บ การตั้งภาษา สามารถเพิ่มภาษาได้
ตั้งค่าหน้าเว็บ สร้างหน้าเว็บเพิ่ม ตกแต่งหน้าเว็บ
     -E-commerce
     - การใช้งาน E-commerce ของ Odoo ตั้งค่าที่หลังบ้านก่อนว่าสามารถนำไปขายหน้าเว็บไซต์ได้ไหม
     - ตั้งค่าการรับชำระผ่านหน้าเว็บไซต์
     - Wabboard
ระบบ LiveChat -มีระบบให้คะแนนแก่พนักงาน, เก็บประวัติการแชท
     - ฟังก์ชั่นนี้ เมื่อมีลูกค้าสอบถามข้อมูลเข้ามา Admin ที่ดูแลเรื่องนี้ก็จะ Login ที่หลังบ้านเพื่อเข้ามาตอบคำถามลูกค้า

 

คำถามจากผู้เข้าอบรม

  1. สร้าง Parent Department สร้างได้ขนาดไหน
  2. ถ้าอยากกรองแผนกใน Department ทำได้หรือไม่
  3. ส่วนของ e-commerce จำเป็นจะต้องแปลภาษาทุกเมนูการใช้งานหรือไม่
  4. กรณีสร้างแบบฟอร์มการสมัครงานหรือสัมภาษณ์งาน เราสามารถสร้างลิ้งให้ใช้งานแบบ Public ได้ไหม
  5. User ที่เราสร้างในระบบ เราสามารถ Group ตามกลุ่มการใช้งานได้หรือไม่
  6. สามารถเพิ่มฟิลด์ได้ที่ไหน
  7. รูปแบบของวันที่ ที่แสดงในระบบ เราสามารถเปลี่ยนได้ไหม
  8. ชื่อบริษัทสามารถเปลี่ยนภาษาได้หรือไม่ ถ้าเราตั้งค่าไปแล้ว
  9. ถ้าเราขายของ ลูกค้าตกลงแล้ว เราเคลียร์ออเดอร์เรียบรอยแล้ว แต่ทีนี้เราส่งของไม่ครบ แล้วลูกค้าไม่รับของเราจะทำยังไง คืนเงินหรือไม่
  10. กรณีที่สร้างข้อมูลสินค้าไปแล้ว แล้วกลับมาแก้ไขข้อมูล จะทำให้เกิดผลกระทบกับข้อมูลสินค้าที่เคยขายไปแล้วหรือไม่
  11. สามารถแยกบัญชี vat กับ ไม่มี vat ได้หรือไม่
  12. Export ออกมาเป็น Excel ได้หรือไม่
  13. ราคาขายจะอ้างอิงตามหน่วยวัดอะไร
  14. หนึ่งสินค้าสามารถอยู่ได้มากกว่า 1 category หรือไม่
  15. ถ้า Odoo11 เปลี่ยนเป็น Odoo12 database ที่ใช้อยู่ต้อง import ไปทั้งหมดเลยหรือไม่
  16. ใน Odoo10 ไม่มี Credit Note จำเป็นต้องให้ Developer สร้างขึ้นมาหรือไม่
  17. สมมติพนักงานมาสาย จะลิ้งกับการบันทึกเวลาได้ไหม
  18. เราสามารถ Back up ข้อมูลออกมาได้มั้ย ในกรณีเครื่องมีปัญหาได้หรือไม่
  19. ตัว Variant สามารถตั้งราคาที่แตกต่างได้ ทั้งราคาขาย และ ราคาต้นทุน
  20. จำเป็นต้องใส่ Vendor Code ไหม
  21. ตอนที่ปริ้น RFQ สามารถถเพิ่มข้อมูลนอกเหนือจากในแบบฟอร์มได้หรือไม่
  22. กำหนด Take money in, Take money out ได้หรือไม่
  23. ในการ Live Chat เมื่อปิดแชท ข้อมูลที่คุยกันจะหายหรือไม่